เมนู

ปัญหาวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[1796] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[1797] 2. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[1748] 3. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. ผู้มีปัญญาพึง
กระทำเป็น 17 วาระด้วยเหตุนี้.


2. อารัมมณปัจจัย


[1799] 1. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่แก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[1800] 2. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1801] 3. มัคคาเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1802] 4. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

[1803] 5. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[1804] 6. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1805] 7. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคา-
ธิปติธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ แก่อา-
วัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[1806] 8. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1807] 9. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

3. อธิปติปัจจัย


[1808] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.